![]() แผนที่แสดงเส้นทางการเดินเรือของชาวโปรตุเกสในอดีต
The Portuguese ancient route
|
![]() เส้นทางสู่อินเดีย หรือ Carreira da India เป็นนโยบาย
การเดินทางสู่ทวีปเอเชียของชาวโปรตุเกสเพื่อแสวงหา “เครื่องเทศ”
|
![]() ภาพวาดกรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส ในคริสต์ศตวรรษ ที่ ๑๕ |
|
![]() ภาพวาดกองเรือสำรวจของโปรตุเกส นำไปสู่การ
ค้นพบโลกใหม่ ในดินแดนที่ชาวตะวันตกไม่เคยรู้จักมาก่อน
|
![]() วาสโก ดา กามา นักเดินเรือผู้โ่ด่งดังของโปรตุเกส เดินทางอ้อมแหลมกู๊ดโฮปไปถึงอินเดียเป็นคนแรก
|
![]() ภาพวาดกองเรือสำรวจของวาสโก ดา กามา ผู้ค้นพบ
เส้นทางการเดินทางใหม่จากยุุโรปสู่อินเดียเป็นคนแรก
|
![]() ภาพวาดกรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส ในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๕
รุ่งเรืองและเฟื่องฟูถึงขีดสุดด้วยการค้าเครื่องเทศ
|
![]() แผนผังโรงเก็บสินค้าโปรตุเกส ซึ่งต่อมา คือ บริเวณ
ที่ตั้งสถานทูตโปรตุเกส ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ปัีจจุบัน
เก็บรักษาไว้ที่หอสมุดแห่งชาติโปรตุเกส กรุงลิสบอน
|
![]() ภาพวาดสงคราม Lepanto ในปี ค.ศ. ๑๕๗๑ ระหว่างคริสเตียน
และมุสลิมเติร์กเพื่อแย่งชิงความเป็นใหญ่ และเพื่อครอบครองเส้นทาง
เดินเรือมายังเอเชีย จัดแสดงที่ National Maritime Museum,
Greenwich ประเทษอังกฤษ
|
![]() ภาพการปะทะกันระหว่างกองเรือโปรตุเกสและฮอลันดา
เืพื่อแย่งชิงความเป็นใหญ่ในเอเชีย (ภาพนี้จากสงคราม ชื่อ Matecalo)
|
![]() ภาพวาดฝีมือชาวโปรตุเกส แสดงเรือพายชนิดต่างๆ ของชาวอินเดีย
แถบชายฝั่งมะละบาร์ ชาวอินเดียเคยพึ่งชาวอาหรับเป็นพ่อค้าคนกลาง
ในการติดต่อกับต่างประเทศ ก่อนหน้าที่ชาวโปรตุเกสจะเข้ามา
|
![]() ภาพสเก๊ตช์รูปเรือประเภทคาร์แรท (Carrack)
ของวาสโก ดา กามาที่ใช้เดินทางอ้อมแหลมกู๊ดโฮปสู่อินเดีย
|
![]() เรือสินค้าโปรตุเกสออกเดินทางสู่โลกกว้าง
และการผจญภัยในซีกโลกตะวันออก
|
![]() หอคอยเบเล็ม ณ กรุงลิสบอน
จุดเริ่มต้นของกองเรือสำรวจของโปรตุเกส
|
![]() ภาพวาดชาวอินเดีย เมื่อ ๕๐๐ ปีมาแล้ว นำอาหาร
และน้ำดื่มออกมาต้อนรับเมื่อชาวโปรตุเกสเดินทางมาถึง
|
![]() กองเรือโปรตุเกสเดินทางถึงหน้าเมืองมะละกา
ต่อมาถูกตั้งให้เป็นอาณานิคมแห่งที่ ๒ ของโปรตุเกสในเอเชีย
|
![]() กรุงลิสบอน จุดกำเนิดของการสำรวจทางทะเลของโปรตุเกส
และจุดเริ่มต้นของการเดินทางมาเอเชีย ภาพวาดโดย J. Lemoyne De Morgues
|
![]() เรือคาร์แรทที่ชาวโปรตุเกสใช้เดินทางมาเอเชีย |
![]() เรือคาร์แรทของโปรตุเกสสมัยเดียวกับ
วาสโก ดา กามา ชักใบรับลมเต็มที่ บ่ายหน้าสู่ทะเลกว้าง
|
![]() ภาพขบวนเรือพระที่นั่งของกรุงศรีอยุธยา
Royal Barge Procession of Ayutthaya
|
![]() แผนที่เส้นทางการเดินเรือในยุคแห่งการค้นพบของโปรตุเกส
ราวคริสต์ศตวรรษที่ 15 จัดแสดงเต็มผนังอาคาร
พิพิธภัณฑ์การเดินเรือโบราณ กรุงลิสบัว
|
![]() เรือคาราเวลจำลอง จัดแสดงภายใน
พิพิธภัณฑ์การเดินเรือโบราณ ณ กรุงลิสบัว
|
![]() เรือคาราเวลล่องสมุทร ภาพจิตรกรรมบนผนังไม้
ภายในท้องพระโีรง พระราชวังซินทรา เมืองซินทรา
|
![]() สมัยของการเดินทางสู่เอเชียระยะแรก โปรตุเกสพัฒนารูปแบบเรือ
มาเป็นเรือใบเหลี่ยม และคงใบสามเหลี่ยด้านท้ายเรียกว่า เนา หรือแกลเลียน
|
![]() เรือสำเภาเสาสูง พัฒนาการของเรือโปรตุเกสยุคหลัง
จิตรกรรมบนผนังไม้ ท้องพระโรง พระราชวังซินทรา เมืองซินทรา
|
![]() ภาพวาดหอคอยบึแล็ง ท่าเรือโบราณกรุงลิสบัว
โดย ประสพโชค ธนะเศรษวิไล
|
![]() หนังสือโบราณหลายเล่มเป็นรายงานของนักบวช
ที่เกี่ยวข้องกับสยามสมัยสมเด็จพระเพทราชา แห่งกรุงศรีอยุธยา
|
![]() หนังสือโบราณเล่มสำคัญเล่มนี้มีเพียงเล่มเดียว แสดงแบบเรือต่างๆ ใน
โครงการสร้างเรือเดินสมุทร เืพื่อยืนยันขอรับทุนจากกษัตริย์โปรตุเกส
ในอดีต เก็บรักษาไว้ที่หอสมุดแห่งพระราชวังอะจูดา กรุงลิสบัว
|
|
![]() ท็อปวิวจากชั้นดาดฟ้า อนุสาวรีย์ผู้ค้นพบ มองเห็น
พื้นลานเป็นภาพแผนที่เดินเรือโบราณของชาวโปรตุเกส
|
|
![]() Cardinal Point จุดแสดงหลักเข็มทิศขนาดใหญ่
บนพื้นหน้าอาคาร ของป้อมปราการแห่งซากรึช
|